ABOUT กรมศุลกากร

About กรมศุลกากร

About กรมศุลกากร

Blog Article

มิใช่เป็นการแปลความหมายของบทบัญญัติภาษาไทย

กิจการภาษี หรือการศุลกากร มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยจากหลักฐาน ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า "จกอบ" ในสมัยสุโขทัยมีการ ค้าขายเป็นปัจจัย ในการสร้างความมั่งคั่งของรัฐ การเก็บภาษีนี้ในช่วง ระยะเวลาหนึ่งกรุงสุโขทัย ได้มี ประกาศยกเว้นแก่ผู้มาค้าขายดัง หลักฐาน ที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า "เมืองสุโขทัยนี้ดีในน้ำมีปลาในนามีข้าวพ่อเมือง บ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทางเพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขายใครจักใคร่ค้าช้างค้าใครจักใคร่ค้าม้าค้า"ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา หน่วยงานที่ทำหน้าที่ด้านตรวจเก็บภาษีขาเข้าขาออกเฉพาะเรียกว่า พระคลังสินค้า มีสถานที่สำหรับการภาษี เรียกว่า ขนอน เก็บภาษีจากระวางบรรทุกสินค้าและจาก สินค้าในสมัยกรุงธนบุรีบ้านเมืองอยู่ในยุคสงครามการค้าขายระหว่าง ประเทศไม่ปรากฏหลักฐาน ในทางประวัติศาสตร์

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กรมศุลกากร

ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกของ ที่เป็นหรือเคยเป็นตัวแทนออกของบุคคลธรรมดามาก่อน จะไม่สามารถเข้าสังกัดบริษัทตัวแทนออกของ (นิติบุคคล) ผ่านระบบฯ ได้ ต้องยื่นเป็นกระดาษเท่านั้น

ข้อมูลแสดงดังกล่าวเป็นเพียงข้อมูลที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้นำเข้า/ประกอบการในเบื้องต้นเท่านั้น ขอให้ผู้ค้นหาใช้ประกาศกระทรวงเป็นหลัก ซึ่งสามารถดาวน์โหลดไฟล์ประกาศกระทรวงการคลังต่างๆ ได้จากหน้าจอค้นหาหัวข้อ ประกาศกระทรงการคลัง กรมศุลกากร *

การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มในการนำเข้า

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กรมศุลกากร

สมัครสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกของ

* กรมศุลกากร ขอสงวนสิทธิ์ในการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลบนเว็บไซต์นี้ *

ไม่ต้องมีใบอนุญาต/ใบรับรอง เนื่องจากกรณีอื่นๆ

ผลการดำเนินงานเพื่อประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับนักท่องเที่ยว

การขออนุญาตเป็นตัวแทนออกของ/ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกของ

คณะทำงานร่วมฯ เพื่ออำนวยความสะดวกในการนำเข้าส่งออก (ครอ.)

Report this page